HELLO

วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

week 16

Tuesday 18 February 2013
Content


**** ไม่มีการเรียนการสอน อาจารย์ได้แจกข้อสอบให้ไปทำ และกำหนดวันที่จะส่ง 27-28 กุมภาพันธ์ การทำข้อสอบต้องไปค้นคว้าในหนังสือ หรือจากวิจัยเท่านั้น****


วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

week 15

Tuesday 11 February 2013

Content
เด็กแอลดี (LD : Learning Disability)
สาเหตุของโรคแอลดี เด็กแอลดี (LD : Learning Disability) หรือ เด็กที่อยู่ในภาวะความบกพร่องในการเรียนรู้ เด็กๆ เหล่านี้จะมีสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือฉลาดกว่า แต่การเรียนรู้ในด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายๆ ด้านจะช้ากว่าเด็กวัยเดียวกัน
    เกิดจากความผิดปกติของสารเคมีในสมอง ยังไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นสมองส่วนใดหรือมีความผิดปกติอย่างไร พบว่ามักจะอยู่ในกลุ่มที่แม่มีปัญหาในระหว่างตั้งครรภ์ มีปัญหาระหว่างคลอดหรือหลังคลอด หรือสมองของเด็กมีการทำงานผิดปกติ โดยอาจเกิดจากการติดเชื้อ อุบัติเหตุ ได้รับสารพิษ เป็นต้น
ข้อสังเกตและอาการบ่งชี้
1. ด้านการอ่าน (Dislexia)
- อาจจะอ่านไม่ออกหรืออ่านได้บ้าง สะกดคำไม่ถูก ผสมคำไม่ได้
- อ่านช้า ลำบากในการอ่าน จะต้องสะกดคำก่อนจึงจะอ่านได้
- อ่านออกเสียงไม่ชัดเจน
- อ่านเดาจากอักษรตัวแรก เช่น บาท เป็นบทที่, เมื่อนั้น เป็น บัดนั้น
- อ่านข้าม อ่านเพิ่ม อ่านสลับคำ ผันเสียงวรรณยุกต์ไม่ได้
- อ่านแล้วจับใจความสำคัญหรือเรียงลำดับเหตุการณ์ของเรื่องที่อ่านไม่ได้
2. ด้านการเขียนและการสะกดคำ (Disgraphia)
- รู้ว่าจะเขียนอะไร แต่เขียนไม่ได้
- ลากเส้นวนๆ ซ้ำๆ ไม่แน่ใจว่าจะเขียนหัวเข้าหรือหัวออก
- เรียงลำดับอักษรผิด
- เขียนเรียงลำดับ ก-ฮ ไม่ได้ แต่บอกให้เขียนทีละตัวได้
- เขียนไม่ตรงบรรทัด ขนาดตัวหนังสือเล็กใหญ่ไม่เท่ากัน ไม่มีช่องไฟ
- จับดินสอแน่นมาก ลบบ่อยๆ เขียนทับคำเดิมหลายๆ ครั้ง
- สะกดคำผิด
3. ด้านการคำนวณ (Discalculia) อาจจะคำนวณไม่ได้เลย หรือทำได้แต่สับสนกับตัวเลข ไม่เข้าใจสัญลักษณ์ ไม่เข้าใจค่าของตัวเลข ไม่สามารถจับหลักการ บวก ลบ คูณ หารได้
การวินิจฉัยทางการแพทย์
     ปัญหาบกพร่องด้านการเรียนรู้ แพทย์จะซักประวัติโดยละเอียดก่อน เพื่อตรวจสอบว่าการบกพร่องด้านการเรียนรู้นี้เป็นปัญหาที่เกิดจากสภาวะแวดล้อมส่งผลต่อการเรียนหรือไม่
การช่วยเหลือทางจิตใจสำหรับเด็กและครอบครัว
-                   พ่อแม่จะต้องช่วยให้เด็กผ่านช่วงวัยเรียนไปให้ได้
-                   สร้างให้ช่วงวัยเรียนของเด็กมีความสุขที่สุด มีปัญหาน้อยที่สุด
-                   พ่อแม่ต้องให้ความสนใจและให้ความสำคัญกับเรื่องของ อีคิว (EQ)
-                   พ่อแม่ต้องใจเย็น ใช้ความอดทนสูง ให้ความรักและเข้าใจเด็ก
-                   พ่อแม่ต้องไม่คาดหวังมาก สร้างให้เด็กสามารถมีชีวิตได้เองโดยลำพัง

การช่วยเหลือทางด้านการเรียน
-                   แพทย์จะประสานกับโรงเรียน แจ้งผลการตรวจแก่ครู และขอความร่วมมือในการปรับวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสม
-                   เรียนในโรงเรียนที่ครูเข้าใจและพร้อมจะช่วยเหลือ
-                   พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครู จะต้องเข้าใจ พยายามช่วยเหลือเด็ก สร้างให้เด็กมั่นใจในตัวเอง รวมกลุ่ม และทำงานกับเพื่อนได้
-                   การอ่าน ครูต้องช่วยอ่านโจทย์ให้ฟังเวลาสอบ เด็กจะสามารถเข้าใจและตอบข้อสอบนั้นได้
-                   ปรับวิธีการสอน การอ่านคำ
-                   กระตุ้นสมองด้วยจินตนาการ ด้วยการเล่น โดยเฉพาะการเล่นจากการใช้จินตนาการ ฟังนิทาน ต่อบล็อก และอื่นๆ ที่จะให้เด็กใช้จินตนาการ หลีกเลี่ยงการให้เด็กเล่นเกม คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือ เพราะจะเป็นการปิดการจินตนาการของเด็ก




วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

week 14

Tuesday 4 February 2013
Content
การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
-                   - รักษาตามอาการ
-                   - แก้ไขความผิดกติที่พบร่วมบ่อย
-                   - ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้
-                   - เน้นการดูแลแบบองค์รวม
1.            ด้านสุขภาพอนามัย บิดามารดาพาบุตรไปพบแพทย์ ติดตามอาการ
2.            การส่งเสริมพัฒนาการ กลุ่มอาการดาวน์สามารถพัฒนาได้
3.            การดำรงชีวิตประจำวัน ให้ช่วยเหลือตนเอง
4.            การฟื้นฟูสมรรถภาพ
-                  -  การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
-                  -  การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล
-                  -  การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการสังคม
-                   - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
การเลี้ยงดูในช่วง 3 เดือนแรก  เวลาอาบน้ำต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ถูบ่อยๆเพื่อฝึกประสาทสัมผัส
การฝึกปฏิบัติบิดา มารดา
-                   - ยอมรับความจริง
-                   - เด็กอาการดาวน์มีพัฒนาเป็นขั้นตอน
-                   - ให้ความรักความอบอุ่น
-                   - การตรวจภายใน
-                   - การคุมกำเนิดและทำหมัน
-                   - การสอนเพศศึกษา
-                   - ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
-                   - พัฒนาทักษะด้านต่างๆ
-                   - สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเอง
-                   -สังคมยอมรับมากขึ้น
-                  -  ลดปัญหาพฤติกรรม
-                  -  คุณภาพชีวิตดีขึ้น
ออทิสติก
ส่งเสริมความเข้มแข็งครอบครัว   ครอบครัวที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการดูแลช่วยเหลือเด็กออทิสติก
ส่งเสริมความสามารถเด็ก 
-                  -  เสริมสร้างโอกาสให้เด็กเล่นของเล่นที่หลากหลาย
-                   - ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
การปรับพฤติกรรมและทักษะทางสังคม
-                  -  เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสมและลดที่ไม่เหมาะสม
-                   - การแรงเสริม
การฝึกพูด
-                   - โดยเฉพาะในรายที่มีพัฒนาการทางด้านภาษาสื่อความหมายล่าช้า
-                   - ถ้าเด็กพูดได้เร็ว โอกาสจะปกติมากขึ้น
-                   - ลดการใช้ภาษาไม่เหมาะสม
-                   - ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าว
-                   - การสื่อความหมายทดแทน
การสื่อความหมายทดแทน
-                   - การรับรู้ผ่านการมอง
-                  -  ปรแกรมแลกเปลี่ยนภาพทางการศึกษา
-                  -  เครื่องโอภา

-                   - โปรแกรมอาศัย



วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557

week 12

Tuesday 21 January 2013
Content
พัฒนาการของเด็กที่ความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
-                   การเปลี่ยนในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งบุคคล
-                   ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เด็กที่บกพร่องทางพัฒนาการ
-                   เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติ
-                   พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียง 1 ด้าน
-                   พัฒนาการล่าช้าใน 1 ด้าน อาจส่งผลพัฒนาการอื่นล่าช้า
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
-                   ปัจจัยด้านชีวภาพ
-                   ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม
-                   ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
-                   ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่อง
1.            โรคทางพันธุกรรม
2.            โรคของระบบระสาท
3.            การติดเชื้อ
4.            ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลืซึม
5.            ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
6.            สารเคมี/ตะกั่ว 
-                   ตะกั่ว เป็นผลกระทบมากที่สุด ซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวหมองคล้ำ
-                   แอลกอฮอล์ น้ำหนักแรกเกิดน้อย พัฒนาการทางสติปัญญาบกพร่อง
-                   Fetal alcohol syndrome, Fas   ช่องตาสั้น ริมฝากบนเรียบ ยาวและบาง จมูกแบน เชิด
-                   พิโคติน น้ำหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารระยะตั้งครรภ์ สติปัญญาบกพร่อง สมาธิสั้น ก้าวร้าว
7.            การเลี้ยงดูไม่เหมาะสมขาดสารอาหาร


แนวทางการวินิจฉัยที่บกพร่องทางพัฒนาการ
1.            การซักประวัติ
2.            การตรวจร่างกาย
3.            การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4.            การประเมินพัฒนาการ

** อาจารย์ให้นำเสนองานที่ทำเป็นกลุ่ม เกี่ยวกับเด็กพิเศษมีทั้งบทบาทสมมติ และเนื้อหา
กลุ่มที่1 เรื่องเด็กออทิสติก

กลุ่มที่ 2 เรื่องเด็กดาวน์ซินโดรม



วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557

week 11

Tuesday 14 January 2013
Content

หมายเหตุ :  ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสถานการณ์บ้านเมืองไม่ปกติ


วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557

week 10

Tuesday 7 January 2013
Content
อาจารย์ให้นำเสนองานที่ทำเป็นกลุ่ม เกี่ยวกับเด็กพิเศษมีทั้งบทบาทสมมติ และเนื้อหา
กลุ่มที่1 เรื่องสมองพิการ
กลุ่มที่ 2 เรื่องเด็กแอลดี

กลุ่มที่ 3 เด็กสมาธิสั้น